สำหรับผู้ใส่ใจในการรักษาสุขภาพ ทั้งสุขภาพกาย และสุขภาพจิต

ปัสสาวะเป็นเลือดในเด็ก

ปัสสาวะเป็นเลือด

ปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria in children)
Hematuria เป็นอาการสำคัญอันหนึ่งของโรคในระบบทางเดินปัสสาวะ อาจพบเป็น gross หรือ microscopic ตรวจพบเม็ดโลหิตแดงในปัสสาวะที่ปั่นมากกว่า 5-10 ตัว/ HPF (อย่างน้อย 2 ครั้ง) อาจมีอาการหรือไม่มีอาการ และอาจเกิดเป็น transient, intermittent หรือ persistent.

สาเหตุของ hematuria     
I สาเหตุจากไต
1. Acute postinfectious glomerulonephritis
2. Glomerulopathies อื่นๆ ได้แก่
-Glomerulonephritis associated with sepsis, infected shunt for hydrocephalus, bacterial endo¬carditis, chronic infection
-Membranoproliferative glomerulonephritis
-Focal segmental glomerulosclerosis
-Hereditary nephritis (Alport’s disease)
-IgA-IgG nephropathy (Berger’s disease)
-Hemolytic-uremic syndrome
-Collagen vascular disease เช่น lupus nephritis, Henoch-Schonlein purpura, polyarteritis nodosa
-Interstitial nephritis จากยา เช่น penicillins, cephalosporins
3. Pyelonephritis
4. ความผิดปกติแต่กำเนิด เช่น polycystic kidneys, horse¬shoe kidney
5. มะเร็ง เช่น Wilms’ tumor, leukemia
6. Renal vein or artery thrombosis
7. Trauma
8. Nephrolithiasis

II  สาเหตุจากทางเดินปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะ
1. โรคติดเชื้อ เช่น cystitis, urethritis
2. Chemical hemorrhagic cystitis จากยา เช่น cyclophosphamide
3. Trauma
4. Foreign bodies, นิ่ว
5. มะเร็ง

III  อื่นๆ เช่น
1. Hemorrhagic diathesis and blood dyscrasias
2. Hemoglobinopathies ในกรณีที่มี glomerular lesion ร่วมด้วย
3. Hypercalciuria
4. Strenuous exercise
5. Intercurrent unrelated conditions เช่น viral or bac¬terial respiratory infections, other febrile disorders, gastro-enteritis with dehydration

แยกกลุ่มสาเหตุของโรคจากไตและสาเหตุนอกไตได้ตามตารางข้างล่างนี้
health-0195

DIAGNOSTIC APPROACH TO HEMATURIA

health-0196

health-0197

หมายเหตุ
1. พิจารณาเลือกการส่งตรวจตามความเหมาะสม ส่วนการรักษาพิจารณาตามสาเหตุ
2. ต้องวัดความดันโลหิตผู้ป่วยทุกราย จะพบความดันโลหิตสูงได้ใน acute glomerulonephritis, chronic glomerulonephritis, Wilms’ tumor, และ polycystic disease
3. พบ proteinuria >2+ (100 มก./ดล.) และ hematuria ร่วมกับ RBC cast ให้คิดถึง glomerular lesion

ที่มา:ศิริ  ขอประเสริฐ

↑ กลับสู่ส่วนบนของหน้า